คำกริยาที่ไม่เติม -ing ในรูปของ Continuous Tense
โดยทั่วไปแล้ว Continuous
Tense หรือ Progressive Tense ใช้กล่าวถึงเหตุการณ์ที่กำลังกระทำหรือดำเนินอยู่อย่างต่อเนื่อง
เพราะฉะนั้น จุดมุ่งหมายหลักของ Continuous
Tense ก็คือจะต้องเป็นกริยาที่กำลังกระทำหรือดำเนินอยู่อย่างต่อเนื่อง แต่ในกรณีนี้ จะมีกริยาบางคำที่ไม่เคยนำมาใช้หรือไม่ค่อยได้ใช้กับ
Continuous Tense เราเรียกคำกริยานี้ว่า Stative verbs (คำกริยาแสดงสภาวะ) ซึ่งคำกริยาในกลุ่มนี้จะใช้กับ Simple
Tense จะไม่นำมาใช้ในรูปเติม –ing ใน
Continuous Tense ถึงแม้ว่าเหตุการณ์นั้นกำลังกระทำหรือดำเนินอยู่ก็ตาม
Stative verbs (คำกริยาแสดงสภาวะ)
ที่เราไม่นำมาใช้เติม –ing ใน Continuous Tense แบ่งเป็นกลุ่ม ดังนี้
1. กริยาที่แสดงประสาทสัมผัสการรับรู้
- feel (รู้สึก, รับรู้)
- hear (ได้ยิน)
- see (เห็น, เข้าใจ,พบ,คบหา)
- smell (ได้กลิ่น)
- sound (เกิดเสียง, ดูเหมือนว่า)
- taste (ได้รส, รู้รส)
- seem (ดูเหมือนว่า)
- appear (ปรากฏ, ดูเหมือน)
เช่น I'm smelling smoke.
I smell smoke. (ฉันได้กลิ่นควัน)
This meat's tasting like chicken.
This meat tastes like chicken. (เนื้อนี้รสชาติเหมือนไก่)
I'm hearing the beautiful music.
I hear the beautiful music. (ฉันได้ยินเสียงเพลงเพราะมาก)
2. กริยาที่แสดงสภาพจิตใจ ความรู้สึกหรืออารมณ์
I smell smoke. (ฉันได้กลิ่นควัน)
This meat tastes like chicken. (เนื้อนี้รสชาติเหมือนไก่)
I hear the beautiful music. (ฉันได้ยินเสียงเพลงเพราะมาก)
2. กริยาที่แสดงสภาพจิตใจ ความรู้สึกหรืออารมณ์
เช่น
She loves you so much. (เธอรักคุณมาก)
I hate worms. (ฉันเกลียดหนอน)
They want some money. (พวกเขาต้องการเงิน)
3. กริยาที่แสดงสภาวะทางความคิด
เช่นI'm understanding the lessons.
I understand the lessons. (ผมเข้าใจบทเรียน)
S้he's knowing my mother.
She knows my mother. (เธอรู้จักแม่ของฉัน)
Jim's remembering me.
Jim remembers me. (จิมจำฉันได้)
4. คำกริยาแสดงความเป็นเจ้าของ
เช่น
I understand the lessons. (ผมเข้าใจบทเรียน)
She knows my mother. (เธอรู้จักแม่ของฉัน)
Jim remembers me. (จิมจำฉันได้)
4. คำกริยาแสดงความเป็นเจ้าของ
- belong (เป็นของ)
- have/has (มี)
- own (เป็นเจ้าของ)
- possess (ครอบครอง, ครอบงำ,เป็นเจ้าของ)
เช่น This car's belonging to Jane.
This car belongs to Jane. (รถคันนี้เป็นของเจน)
They're having a modern house.
They have a modern house. (พวกเขามีบ้านทันสมัย)
5. คำกริยาแสดงการวัดหรือประเมินค่า
This car belongs to Jane. (รถคันนี้เป็นของเจน)
They're
They have a modern house. (พวกเขามีบ้านทันสมัย)
5. คำกริยาแสดงการวัดหรือประเมินค่า
- weigh (ชั่งน้ำหนัก)
- measure (วัด)
- cost (มีราคา)
- contain (บรรจุ)
เช่น This meat's weighing 2 kilogram.
This meat weighs 2 kilogram. (เนื้อชิ้นนี้หนัก 2 กิโลกรัม)
It's costing 300 baht.
It costs 300 baht. (มันราคา 300 บาท)
6. คำกริยาแสดงสภาวะอื่นๆ
This meat weighs 2 kilogram. (เนื้อชิ้นนี้หนัก 2 กิโลกรัม)
It costs 300 baht. (มันราคา 300 บาท)
6. คำกริยาแสดงสภาวะอื่นๆ
เช่น I'm owing you 1,000 baht.
I owe you 1,000 baht. (ฉันเป็นหนี้คุณ 1,000 บาท)
She's involving with you.
She involves with you. (เธอเกี่ยวพันกับคุณ)
มาถึงตรงนี้ เราก็รู้แล้วว่า คำกริยาที่ไม่นำมาเติม ing นั้น เขาเรียกว่าอะไร มีอะไรบ้าง..? ทีนี้ เรามาเรียนรู้เพิ่มเติม คำกริยาอีกกลุ่มหนึ่ง นั่นก็คือ dynamic verbs (คำกริยาแสดงอาการ) ว่า คืออะไร และแตกต่างกับกริยาแสดงสภาวะ stative verbs อย่างไร..?
I owe you 1,000 baht. (ฉันเป็นหนี้คุณ 1,000 บาท)
She involves with you. (เธอเกี่ยวพันกับคุณ)
มาถึงตรงนี้ เราก็รู้แล้วว่า คำกริยาที่ไม่นำมาเติม ing นั้น เขาเรียกว่าอะไร มีอะไรบ้าง..? ทีนี้ เรามาเรียนรู้เพิ่มเติม คำกริยาอีกกลุ่มหนึ่ง นั่นก็คือ dynamic verbs (คำกริยาแสดงอาการ) ว่า คืออะไร และแตกต่างกับกริยาแสดงสภาวะ stative verbs อย่างไร..?